วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา


ภาคอีสาน
ภาคอีสาน เป็นเขตหรือภาคหนึ่ง ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย อยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นแยกจากภาคเหนือและภาคกลาง
การเกษตรนับเป็นอาชีพหลักของภาค แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนและแห้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ




ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ภาคอีสาน เป็นเขตหรือภาคหนึ่ง ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย อยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นแยกจากภาคเหนือและภาคกลาง

การเกษตรนับเป็นอาชีพหลักของภาค แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ทางด้านสังคมเศรษฐกิจ ทำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่าภาคอื่นๆ

ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน แต่ภาษาไทยกลางก็นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมร ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ยังมีภาษาถิ่นอื่นๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น

ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เรียกว่า เซิ้ง เป็นต้น

ภาคอีสาน มีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 170,226 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ หนี่งในสาม ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย มีเทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึง เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำ เช่น ลำตะคอง แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล

จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีด้วยกัน 19 จังหวัด ดังนี้
1. อำนาจเจริญ
2. บุรีรัมย์
3. ชัยภูมิ
4. กาฬสินธุ์
5. ขอนแก่น
6. เลย
7. มหาสารคาม
8. มุกดาหาร
9. นครพนม
10. นครราชสีมา
11. หนองบัวลำภู
12. หนองคาย
13. ร้อยเอ็ด
14. สกลนคร
15. ศรีสะเกษ
16. สุรินทร์
17. อุบลราชธานี
18. อุดรธานี
19. ยโสธร
งแล้ง รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ทางด้านสังคมเศรษฐกิจ ทำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่าภาคอื่นๆ
ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน แต่ภาษาไทยกลางก็นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมร ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ยังมีภาษาถิ่นอื่นๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น
ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น
ภาคอีสาน มีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึงซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น ลำตะคอง แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล

[แก้] จังหวัดในภาคอีสาน

วิชาคอมพิวเตอร์

1.) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อทำการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเอง อุปกรณ์ส่วนรับข้อมูล ได้แก่ - คีย์บอร์ด (keyboard)
- เมาส์ (mouse)
- สแกนเนอร์ (scanner)
- อุปกรณ์สแกนลายนิ้วมือ (finger scan)
รากศัพท์เดิมของคำว่า คอมพิวเตอร์ (computer) มาจากภาษาละตินคือ computare ซึ่งหมายถึง การนับ การคำนวน และในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายคอมพิวเตอร์ ไว้ว่า คำว่า คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทําหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สําหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์
ประวัติ คอมพิวเตอร์
เริ่มแรกก่อนที่จะมี คอมพิวเตอร์ นั้นมนุษย์ดำเนินชีวิตโดยไม่มีการบันทึกสิ่งใด มาจนกระทั่งได้มีการติดต่อค้าขายของพ่อค้าชาวแบบีลอน (Babylonian) การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงบน clay tablets จึงได้ถือกำเนิดขึ้น และอุปกรณ์ที่ช่วยในการคำนวนระหว่างการติดต่อซื้อขายก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเช่นกัน อุปกรณ์คำนวณในยุคแรกได้แก่ ลูกคิด(abacus) ซึ่งก็ยังคงใช้กันต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน
อ่าน ประวัติคอมพิวเตอร์ ได้ที่นี่
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โดยหลักการแล้ว ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่ทำงานตามหน้าที่ 4 ส่วนด้วยกัน คือ 1.) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) 2.) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) 3.) ส่วนแสดงผล (Output Unit) 4.) หน่วยความจำ (Memory Unit)
อ่าน ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ได้ที่นี่
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ทำงานอย่างไร
ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทใด ก็ย่อมมีหลักการทำงานที่ไม่แตกต่างกัน โดยมีดังนี้
อ่าน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ได้ที่นี่
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ในที่นี้ คือ อุปกรณ์ที่เป็นชิ้นส่วนที่นำมาประกอบกัน เป็นตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์ และจะรวมไปถึ่ง อุปกรณ์ต่อพ่วงที่นำมาใช้งานร่วมกันกับ คอมพิวเตอร์ อีกด้วย ดังนี้ - จอภาพ (Monitor) - เคส (Case) - พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) - คีย์บอร์ด (Keyboard) - เมนบอร์ด (Main board) - ซีพียู (CPU) - การ์ดแสดงผล (Display Card) - แรม (RAM) - ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) - CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW - ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)
อ่าน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ได้ที่นี่
ราคาคอมพิวเตอร์

ตรวจสอบราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อัพเดตล่าสุด ทั้ง ราคาCPU ราคาram ราคาฮาร์ดดิส และ การ์ดจอ
ดู ราคาคอมพิวเตอร์ ทั้งหมดได้ที่นี่
ราคาคอมพิวเตอร์
ถ้าคุณไม่ใช่ผู้ที่มีความรู้ในเรื่องเทคโนโลยี การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อาจเป็นเรื่องยาก ลำบากสำหรับคุณ และถ้ายิ่งเป็นอุปกรณ์มือสองก็ยิ่งที่จะต้องอ่านคำแนะนำเหล่านี้ เพื่อนำไปใช้ใน การซื้อคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ละคน
อ่านข้อแนะนำการซื้อ คอมพิวเตอร์มือสอง ได้ที่นี่
Kapook Glitter

Kapook Glitter รวบรวม Glitter Comment ใน Hi5 Myspace และ Planet มากมาย ที่นี่เลยค่ะ














E-Card ecard


-->

มีอีกเพียบคลิกเล้ย

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ : ราคาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รูปภาพอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือสอง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ราคา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใหม่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ cpu อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.ppt
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ราคาคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น คอมพิวเตอร์มือสอง ความหมายคอมพิวเตอร์ ประวัติคอมพิวเตอร์
- ไมโครโฟน(microphone)
- กล้องเว็บแคม (webcam)
อุปกรณ์ใน ส่วนรับข้อมูล ยังมีอีกมากมายและสามารถจะยังมีเพิ่มตามขึ้นไปเรื่อยๆ ตามการพัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552

พระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถ วัดปากน้ำภาษีเจริญ
วัดปากน้ำภาษีเจริญ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ ณ ที่ราบลุ่มบางกอกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่ริมคลองหลวงหรือ คลองบางกอกใหญ่ อันเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม ก่อนที่จะมีการขุดคลองลัดหน้าวัดอรุณราชวรารามและกลายเป็นลำแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน เนื่องจากวัดตั้งอยู่บริเวณปากคลองด่านที่แยกไปจากคลองบางหลวงอีกทีหนึ่ง ชื่อของวัดจึงถูกเรียกขานตามตำบลที่ตั้งว่า วัดปากน้ำ ซึ่งชื่อนี้มีปรากฏเรียกใช้ในจดหมายเหตุโบราณหลายฉบับ แต่ได้พบชื่อของวัดที่แปลกออกไปในแผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2453 และ พ.ศ. 2474 ว่า วัดสมุทธาราม แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกขานกันอย่างนั้น คงเรียกว่า วัดปากน้ำ มาโดยตลอด
ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้มีการขุดคลองภาษีเจริญที่ข้างวัดด้านทิศตะวันตก วัดจึงมีลำน้ำหลักล้อมอยู่ทั้ง 3 ด้าน ส่วนด้านใต้เป็นคลองเล็กแสดงอาณาเขตของวัดในสมัยก่อน วัดปากน้ำ เป็นวัดโบราณสร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ( ระหว่าง พ.ศ. 2031-2172) สถาปนาโดยพระราชวงศ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏพระนามแน่ชัด เป็นวัดประจำหัวเมืองธนบุรี ปรากฏในตำนานเรื่องวัตถุสถานต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาว่าเป็นพระอารามหลวงครั้งกรุงศรีอยุธยา อันหมายถึงพระอารามที่พระเจ้าแผ่นดินหรือพระมเหสีทรงสถาปนาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น หลักฐานทางโบราณวัตถุและโบราณสถานภายในวัดมีอายุย้อนไปถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง ได้พบร่องรอยคลองเล็กด้านทิศใต้และทิศตะวันตกของวัด ที่โบราณขุดไว้เป็นแนวเขตที่ดินของวัดหลวงสมัยอยุธยา ที่ตั้งของวัดปากน้ำจึงมีลักษณะเป็นเกาะรูปสี่เหลี่ยมมีน้ำล้อมอยู่ทุกด้าน สถาปัตยกรรมและศิลปะวัตถุที่อยู่คู่วัดมาเช่น หอพระไตรปิฏก ตู้พระไตรปิฎกทรงบุษบก ล้วนเป็นฝีมือช่างหลวงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และตัวพระอุโบสถก็ใช้เทคนิคการก่อสร้างในสมัยนั้น ได้ค้นพบนามเจ้าอาวาส 1 รูป ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) คือ พระครูธนะราชมุนี วัดปากน้ำ ได้มีบทบาทสำคัญมาแต่โบราณเพราะได้รับสถาปนาเป็นพระอารามหลวงที่อยู่นอกกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดสำคัญประจำหัวเมืองหน้าด่านทางทะเล